Category Archives: วิชาการ

การใช้ be going to โครงสร้าง หลักไวยากรณ์

การใช้ be going to โครงสร้าง หลักไวยากรณ์ เราใช้รูปประโยค be going + to + INFINITIVE ในความหมาย กำลังจะ และ be + going + to + PLACE ในความหมาย กำลังไป เช่น It is going to rain. I’m going to school. ทั้งสองแบบมีโครงสร้างเป็น Present Continuous Tense เหมือนกัน แต่ be going + to + INFINITIVE มีความหมายเป็น Future นะคะ เรามาดูการใช้ be going to กันสักหน่อยค่ะว่ามีหลักการใช้ยังไงบ้าง Continue reading การใช้ be going to โครงสร้าง หลักไวยากรณ์

การใช้ to, in order to, so as to / in order not to, so as not to

การใช้ to, in order to, so as to / in order not to, so as not to เป็น Infinitive of Purpose คือวลีที่บอกจุดประสงค์ แปลว่าเพื่อที่จะ/เพื่อที่จะได้ไม่ ตัวอย่างเช่น He worked very hard to/in order to/so as to finish his work quickly. เขาขยันทำงานเพื่อที่จะให้งานของเขาเสร็จเร็วๆ We must hurry in order not to/so as not to be late. เราต้องรีบเพื่อที่จะได้ไม่ช้า เรามาดูตัวอย่างการใช้ to, in order to, so as to และ ตัวอย่างการใช้ in order not to, so as not to เพิ่มเติมกันนะคะ Continue reading การใช้ to, in order to, so as to / in order not to, so as not to

การใช้ so…that; so that กับ in order that ตัวอย่างประโยค

การใช้ so…that ต่างกับ so that กับ in order that คือ so…that ใช้ในความหมายว่ามากจนกระทั่ง so that มีความหมายเหมือน in order that แปลว่าเพื่อว่า เพื่อที่จะ(บอกจุดประสงค์) เรามาดูการใช้และตัวอย่างประโยคต่อไปนี้นะคะ Continue reading การใช้ so…that; so that กับ in order that ตัวอย่างประโยค

การใช้ Reflexive Pronouns สรรพนามตนเอง ตัวอย่างประโยค

การใช้ Reflexive Pronoun คือสรรพนามตนเองหรือสรรพนามสะท้อน มักจะใช้เมื่อประธานและกรรมของประโยคเป็นบุคคลเดียวกัน (reflexive pronoun as object) หรือสรรพนามสะท้อนว่าประธานเป็นผู้กระทำด้วยตัวเอง จะมีคำลงท้าย -self เมื่อเป็นเอกพจน์ และ -selves เมื่อเป็นพหูพจน์ ตัวอย่างประโยคเช่น He introduced himself. He เป็นประธาน himself เป็นกรรมของประโยค Continue reading การใช้ Reflexive Pronouns สรรพนามตนเอง ตัวอย่างประโยค

Possessive Adjective & Possessive Pronoun คือคำบอกความเป็นเจ้าของ

Possessive Adjective and Possessive Pronoun คือคำบ่งบอกความเป็นเจ้าของ เช่น This is my pen. It’s mine. my เป็น possessive adjective ขยายนาม (pen) ส่วน mine เป็น possessive pronoun ใช้โดดๆ ได้เลย Continue reading Possessive Adjective & Possessive Pronoun คือคำบอกความเป็นเจ้าของ

just แปลว่า เพิ่งจะ รูปประโยค present perfect has/have just + V3

รูปประโยคอย่างหนึ่งของการใช้ just ที่แปลว่า เพิ่งจะ คือ present perfect (has/have just + V3) ตัวอย่างเช่น He has just left. (เขาเพิ่งจะไป) เรามาดูตัวอย่างประโยคเพิ่มเติมกันอีกหน่อยนะคะ Continue reading just แปลว่า เพิ่งจะ รูปประโยค present perfect has/have just + V3

การใช้ lie กับ lay ต่างกันอย่างไร lie down กับ lay down แปลว่า?

การใช้ lie กับ lay ต่างกันอย่างไร lie down กับ lay down แปลว่า? lie (lay, lain lying) แปลว่านอน, ตั้งอยู่, วางอยู่; lay (laid, laid, laying) แปลว่าวาง, เรียง,ปู, ออก(ไข่); lie เป็นคำกริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารองรับ ส่วน lay เป็นคำกริยาที่ต้องมีกรรมมารองรับ เพื่อนๆ หลายคนค่อนข้างสับสนกับคำสองคำนี้ เรามาดูกันค่ะว่าการใช้ lie กับ lay มีความแตกต่างกันอย่างบ้าง Continue reading การใช้ lie กับ lay ต่างกันอย่างไร lie down กับ lay down แปลว่า?

การใช้ need to be done/need doing (passive infinitive or gerund)

การใช้ need to be done/need doing (passive infinitive or gerund) เป็น passive  voice บอกว่าสิ่งนี้จำเป็นต้องถูกทำ รูปแบบคือ need + to be + V3 หรือ need +V-ing ตัวอย่างเช่น This car needs to be repaired. หรือ This car need repairing. มีความหมายเดียวกันว่ารถนี้จำเป็นต้อง(ถูก)ซ่อม เพื่อให้เข้าใจมากขึ้นเราจะมาดูตัวอย่างเพิ่มเติมกันค่ะ Continue reading การใช้ need to be done/need doing (passive infinitive or gerund)

แบบฝึกหัด relative clauses พร้อมเฉลย (who which that)

ตอนนี้เรามาดู แบบฝึกหัด relative clauses พร้อมเฉลย (who which that) กันต่อจากตอนที่แล้วที่เราได้ทบทวนเรื่อง การใช้ who which that เชื่อมประโยคโดยใช้ relative clauses ขยายนาม กันไปแล้ว แนะนำให้เพื่อนๆ ฝึกทำแบบฝึกหัดก่อนแล้วค่อยตรวจดูเฉลยทีหลังนะคะ ถ้าพร้อมแล้วลงมือทำได้เลยค่ะ Continue reading แบบฝึกหัด relative clauses พร้อมเฉลย (who which that)

การใช้ who which that เชื่อมประโยคโดยใช้ relative clauses ขยายนาม

การใช้ who which that เชื่อมประโยคโดยใช้ relative clauses (คุณานุประโยค) จะใช้ who/that กับบุคคล และ which/that กับสิ่งของ โดยมี clause เป็นอนุประโยคใน relative clause ที่ทำหน้าที่ขยายคำนาม บอกให้ทราบว่าบุคคลใดหรือสิ่งใดที่ถูกกล่าวถึง นอกจาก who which that แล้ว เรายังมีการใช้ whose whom where ใน relative clause ได้อีกด้วย ฟังดูเหมือนจะเข้าใจยากใช่ไหมคะ แต่จริงๆ แล้วมันไม่ได้ยากอย่างที่คิดเลย มาทำความเข้าใจแบบง่ายๆ กันเลยค่ะว่ามันมีการใช้ยังไง Continue reading การใช้ who which that เชื่อมประโยคโดยใช้ relative clauses ขยายนาม